วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2555

วัเด็ก


เสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคม

วันเด็กแห่งชาต
ที่มา : หนังสือวันสำคัญ โครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยและแนวทางในการจัดกิจกรรม
โดย  :
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
รวบรวมโดย :
สถาบันเด็ก มูลนิธิเด็ก      
  • ความหมาย
  • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของคำว่า “เด็ก” ไว้ดังนี้
  • เด็ก หมายถึง คนที่มีอายุยังน้อย, ยังเล็ก
  • เด็กชาย คือ คำนำเรียกเด็กผู้ชายที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
  • เด็กหญิง คือ คำนำเรียกเด็กผู้หญิงที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
  • ความเป็นมาของวันเด็ก(สุรภักดิ์ อนุกูล วันสำคัญของไทย, หน้า ๕ - ๘)
          เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งของประเทศชาติ เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กจึงควรเตรียมตัวที่จะเป็นกำลังของชาติด้วย การขยันหมั่นศึกษาหาความรู้และใช้เวลาให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่ ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็งตั้งใจทำงานด้วยความรับผิดชอบยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนมีความเมตตากรุณาช่วยเหลือเอื้อเฟื้อผู้อื่น เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยกันรักษาความสะอาดและอนุรักษ์ทรัพยากร ตลอดถึงสาธารณสมบัติส่วนรวมของชาติ หากเด็กทุกคนได้ตระหนักถึงอนาคตของตนและของประเทศชาติ โดยพยายามประพฤติปฏิบัติตนให้ได้ตามที่กล่าวข้างต้นอย่างเหมาะสมกับวัยแล้วก็จะได้ชื่อว่าเป็น “เด็กดี” ชาติบ้านเมืองก็จะเจริญมีความผาสุกร่มเย็นตลอดไป
          ความคิดในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของตนเองนั้นนายวีเอ็ม กุลกานี ผู้แทนองค์การสหพันธ์เพื่อสวัสดิภาพเด็กระหว่างประเทศได้เสนอต่อกรมประชาสงเคราะห์ให้มีการจัดงานวันเด็กแห่งชาติขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของเด็ก วันเด็กแห่งชาติของประเทศไทยจึงมีขึ้นในวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ และปฏิบัติกันเรื่อยมาถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๖ต่อมาเห็นว่าวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม เหมาะสมสำหรับการจัดงานวันเด็กมากกว่า เนื่องจากพ้นฤดูฝนและเป็นวันหยุดราชการ แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ไม่สามารถจัดงานวันเด็กได้ทัน จึงได้จัดกันตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๘ งานวันเด็กแห่งชาติจึงจัดใหม่ให้มีขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม มาจนถึงบัดนี้
          ในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติรัฐบาลได้จัดให้มีคณะกรรมการจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติขึ้นคณะหนึ่งทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน กำหนดฉลองวันเด็กแห่งชาติทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ให้เด็กทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนพร้อมกันทั่วประเทศเพื่อให้เด็กได้รู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้ถึงความมีระเบียบวินัย ความรู้จักสิทธิหน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
          ทุกปีเมื่อถึงวันเด็กแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานพระบรมราโชวาท สมเด็จพระสังฆราชเจ้าทรงโปรดประทานพระคติธรรม และ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีจะมอบคำขวัญวันเด็กให้กับเด็กไทยทุกปี อาทิเช่น พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๒๘
          “คนทุกคนมีภาระต้องทำ แม้เป็นเด็ก ก็มีภาระอย่างเด็ก คือศึกษาเล่าเรียน หมายความว่าจะต้องเรียนให้รู้วิชา ฝึกหัดทำการงานต่าง ๆ ให้เป็น อบรมขัดเกลาความประพฤติและความคิดจิตใจให้ประณีต ให้สุจริตแจ่มใสและเฉลียวฉลาดมีเหตุผล เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนที่มีความรู้ความสามารถและมีประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง”
          หรือคำขวัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๙
          “เด็กต้องหัดทำตัวให้สุภาพอ่อนโยน หมั่นขยัน เอางานเอาการ เอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจอยู่เสมอให้ติดเป็นนิสัย จักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์และมีความเจริญมั่นคงในชีวิต”

เสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคม

วันเด็กแห่งชาต
ที่มา : หนังสือวันสำคัญ โครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยและแนวทางในการจัดกิจกรรม
โดย  :
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
รวบรวมโดย :
สถาบันเด็ก มูลนิธิเด็ก      
  • ความหมาย
  • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของคำว่า “เด็ก” ไว้ดังนี้
  • เด็ก หมายถึง คนที่มีอายุยังน้อย, ยังเล็ก
  • เด็กชาย คือ คำนำเรียกเด็กผู้ชายที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
  • เด็กหญิง คือ คำนำเรียกเด็กผู้หญิงที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
  • ความเป็นมาของวันเด็ก(สุรภักดิ์ อนุกูล วันสำคัญของไทย, หน้า ๕ - ๘)
          เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งของประเทศชาติ เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กจึงควรเตรียมตัวที่จะเป็นกำลังของชาติด้วย การขยันหมั่นศึกษาหาความรู้และใช้เวลาให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่ ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็งตั้งใจทำงานด้วยความรับผิดชอบยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนมีความเมตตากรุณาช่วยเหลือเอื้อเฟื้อผู้อื่น เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยกันรักษาความสะอาดและอนุรักษ์ทรัพยากร ตลอดถึงสาธารณสมบัติส่วนรวมของชาติ หากเด็กทุกคนได้ตระหนักถึงอนาคตของตนและของประเทศชาติ โดยพยายามประพฤติปฏิบัติตนให้ได้ตามที่กล่าวข้างต้นอย่างเหมาะสมกับวัยแล้วก็จะได้ชื่อว่าเป็น “เด็กดี” ชาติบ้านเมืองก็จะเจริญมีความผาสุกร่มเย็นตลอดไป
          ความคิดในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของตนเองนั้นนายวีเอ็ม กุลกานี ผู้แทนองค์การสหพันธ์เพื่อสวัสดิภาพเด็กระหว่างประเทศได้เสนอต่อกรมประชาสงเคราะห์ให้มีการจัดงานวันเด็กแห่งชาติขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของเด็ก วันเด็กแห่งชาติของประเทศไทยจึงมีขึ้นในวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ และปฏิบัติกันเรื่อยมาถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๖ต่อมาเห็นว่าวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม เหมาะสมสำหรับการจัดงานวันเด็กมากกว่า เนื่องจากพ้นฤดูฝนและเป็นวันหยุดราชการ แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ไม่สามารถจัดงานวันเด็กได้ทัน จึงได้จัดกันตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๘ งานวันเด็กแห่งชาติจึงจัดใหม่ให้มีขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม มาจนถึงบัดนี้
          ในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติรัฐบาลได้จัดให้มีคณะกรรมการจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติขึ้นคณะหนึ่งทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน กำหนดฉลองวันเด็กแห่งชาติทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ให้เด็กทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนพร้อมกันทั่วประเทศเพื่อให้เด็กได้รู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้ถึงความมีระเบียบวินัย ความรู้จักสิทธิหน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
          ทุกปีเมื่อถึงวันเด็กแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานพระบรมราโชวาท สมเด็จพระสังฆราชเจ้าทรงโปรดประทานพระคติธรรม และ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีจะมอบคำขวัญวันเด็กให้กับเด็กไทยทุกปี อาทิเช่น พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๒๘
          “คนทุกคนมีภาระต้องทำ แม้เป็นเด็ก ก็มีภาระอย่างเด็ก คือศึกษาเล่าเรียน หมายความว่าจะต้องเรียนให้รู้วิชา ฝึกหัดทำการงานต่าง ๆ ให้เป็น อบรมขัดเกลาความประพฤติและความคิดจิตใจให้ประณีต ให้สุจริตแจ่มใสและเฉลียวฉลาดมีเหตุผล เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนที่มีความรู้ความสามารถและมีประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง”
          หรือคำขวัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๙
          “เด็กต้องหัดทำตัวให้สุภาพอ่อนโยน หมั่นขยัน เอางานเอาการ เอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจอยู่เสมอให้ติดเป็นนิสัย จักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์และมีความเจริญมั่นคงในชีวิต”

เสาร์ที่ 2 ของเดือนมกราคม

วันเด็กแห่งชาต
ที่มา : หนังสือวันสำคัญ โครงการปีรณรงค์วัฒนธรรมไทยและแนวทางในการจัดกิจกรรม
โดย  :
สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ
รวบรวมโดย :
สถาบันเด็ก มูลนิธิเด็ก      
  • ความหมาย
  • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้ให้ความหมายของคำว่า “เด็ก” ไว้ดังนี้
  • เด็ก หมายถึง คนที่มีอายุยังน้อย, ยังเล็ก
  • เด็กชาย คือ คำนำเรียกเด็กผู้ชายที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
  • เด็กหญิง คือ คำนำเรียกเด็กผู้หญิงที่มีอายุไม่เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์
  • ความเป็นมาของวันเด็ก(สุรภักดิ์ อนุกูล วันสำคัญของไทย, หน้า ๕ - ๘)
          เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญยิ่งของประเทศชาติ เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กจึงควรเตรียมตัวที่จะเป็นกำลังของชาติด้วย การขยันหมั่นศึกษาหาความรู้และใช้เวลาให้เป็นประโยชน์อย่างเต็มที่ ประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย มีความขยันขันแข็งตั้งใจทำงานด้วยความรับผิดชอบยึดมั่นในความซื่อสัตย์สุจริต ตลอดจนมีความเมตตากรุณาช่วยเหลือเอื้อเฟื้อผู้อื่น เสียสละและบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยกันรักษาความสะอาดและอนุรักษ์ทรัพยากร ตลอดถึงสาธารณสมบัติส่วนรวมของชาติ หากเด็กทุกคนได้ตระหนักถึงอนาคตของตนและของประเทศชาติ โดยพยายามประพฤติปฏิบัติตนให้ได้ตามที่กล่าวข้างต้นอย่างเหมาะสมกับวัยแล้วก็จะได้ชื่อว่าเป็น “เด็กดี” ชาติบ้านเมืองก็จะเจริญมีความผาสุกร่มเย็นตลอดไป
          ความคิดในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ เพื่อกระตุ้นให้เด็กได้ตระหนักถึงความสำคัญของตนเองนั้นนายวีเอ็ม กุลกานี ผู้แทนองค์การสหพันธ์เพื่อสวัสดิภาพเด็กระหว่างประเทศได้เสนอต่อกรมประชาสงเคราะห์ให้มีการจัดงานวันเด็กแห่งชาติขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของเด็ก วันเด็กแห่งชาติของประเทศไทยจึงมีขึ้นในวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ และปฏิบัติกันเรื่อยมาถึงปี พ.ศ. ๒๕๐๖ต่อมาเห็นว่าวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม เหมาะสมสำหรับการจัดงานวันเด็กมากกว่า เนื่องจากพ้นฤดูฝนและเป็นวันหยุดราชการ แต่ในปี พ.ศ. ๒๕๐๗ ไม่สามารถจัดงานวันเด็กได้ทัน จึงได้จัดกันตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๘ งานวันเด็กแห่งชาติจึงจัดใหม่ให้มีขึ้นในวันเสาร์ที่ ๒ ของเดือนมกราคม มาจนถึงบัดนี้
          ในการจัดงานวันเด็กแห่งชาติรัฐบาลได้จัดให้มีคณะกรรมการจัดงานฉลองวันเด็กแห่งชาติขึ้นคณะหนึ่งทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐบาล รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน กำหนดฉลองวันเด็กแห่งชาติทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ให้เด็กทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนพร้อมกันทั่วประเทศเพื่อให้เด็กได้รู้ถึงความสำคัญของตนเอง รู้ถึงความมีระเบียบวินัย ความรู้จักสิทธิหน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสน์ กษัตริย์ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
          ทุกปีเมื่อถึงวันเด็กแห่งชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะพระราชทานพระบรมราโชวาท สมเด็จพระสังฆราชเจ้าทรงโปรดประทานพระคติธรรม และ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีจะมอบคำขวัญวันเด็กให้กับเด็กไทยทุกปี อาทิเช่น พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๒๘
          “คนทุกคนมีภาระต้องทำ แม้เป็นเด็ก ก็มีภาระอย่างเด็ก คือศึกษาเล่าเรียน หมายความว่าจะต้องเรียนให้รู้วิชา ฝึกหัดทำการงานต่าง ๆ ให้เป็น อบรมขัดเกลาความประพฤติและความคิดจิตใจให้ประณีต ให้สุจริตแจ่มใสและเฉลียวฉลาดมีเหตุผล เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนที่มีความรู้ความสามารถและมีประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง”
          หรือคำขวัญของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานในวันเด็กแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๒๙
          “เด็กต้องหัดทำตัวให้สุภาพอ่อนโยน หมั่นขยัน เอางานเอาการ เอื้อเฟื้อช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความเต็มใจอยู่เสมอให้ติดเป็นนิสัย จักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์และมีความเจริญมั่นคงในชีวิต”

วันเด็ก


         คำขวัญวันเด็ก เป็น คำขวัญที่นายกรัฐมนตรีมอบให้เด็กไทย เนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติของทุกปี โดยคำขวัญวันเด็กมีขึ้นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2499 ในสมัยที่จอมพล ป.พิบูลสงครามดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และตั้งแต่ พ.ศ. 2502 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้ให้คุณค่าความสำคัญของเด็ก จึงมอบคำขวัญให้เป็นข้อคติเตือนใจสำหรับเด็กปีละ 1 คำขวัญ (ก่อนถึงวันเด็กแห่งชาติ) นายกรัฐมนตรีสมัยต่อมา จึงได้ถือเป็นธรรมเนียมสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
ภาพจาก เว็บไซต์ My Freezer…Since Dec 2006


พ.ศ. 2499 จงบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นและส่วนรวม (จอมพล ป.พิบูลสงคราม)
พ.ศ. 2502 ขอให้เด็กสมัย ปฎิวัติของข้าพเจ้า จงเป็นเด็กที่รักความก้าวหน้า (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์)
พ.ศ. 2503 ขอให้เด็กสมัย ปฎิวัติของข้าพเจ้า จงเป็นเด็กที่รักความสะอาด (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์)
พ.ศ. 2504 ขอให้เด็กสมัย ปฎิวัติของข้าพเจ้า จงเป็นเด็กที่อยู่ในระเบียบวินัย (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์)
พ.ศ. 2505 ขอให้เด็กสมัย ปฎิวัติของข้าพเจ้า จงเป็นเด็กที่ประหยัด (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์)
พ.ศ. 2506 ขอให้เด็กสมัย ปฎิวัติของข้าพเจ้า จงเป็นเด็กที่มีความขยันหมั่นเพียร (จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์)
พ.ศ. 2507 --- งดจัดงานวันเด็ก ---
พ.ศ. 2508 เด็กจะเจริญต้องรักเรียนและเพียรทำดี (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2509 เด็กที่ดีต้องมีสัมมาคารวะ มานะบากบั่น และสมานสามัคคี (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2510 อนาคตของชาติจะสุกใส หากเด็กไทยแข็งแรง เรียนดี และ มีความประพฤติเรียบร้อย (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2511 ความเจริญและความมั่นคงของไทยในอนาคต ขึ้นอยู่กับเด็กที่มีวินัย เฉลียวฉลาด และรักชาติยิ่ง (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2512 รู้เรียน รู้เล่น รู้สามัคคี เป็นความดีที่เด็กพึงจำ (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2513 เด็กประพฤติดีและศึกษาดีทำให้มีอนาคตแจ่มใส (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2514 ยามเด็กจงหมั่นเรียน เพียรกระทำดี เติบใหญ่จะได้มีความสุขความเจริญ (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2515 เยาวชนฝึกตนดี มีความสามารถ (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2516 เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติเจริญ (จอมพลถนอม กิตติขจร)
พ.ศ. 2517 สามัคคี คือ พลัง(นายสัญญา ธรรมศักดิ์)
พ.ศ. 2518 เด็กคือทายาทของชาติไทย ต้องร่วมใจร่วมพลังสร้างความดี (นายสัญญา ธรรมศักดิ์)
พ.ศ. 2519 เด็กที่ต้องการเห็นอนาคตของชาติรุ่งเรือง จะต้องทำตัวให้ดี (ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช)
พ.ศ. 2520 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็น คุณสมบัติของเยาวชนไทย (นายธานินทร์ กรัยวิเชียร
พ.ศ. 2521 เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ เด็กฉลาดชาติมั่นคง (พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์)
พ.ศ. 2522 เด็กไทยคือหัวใจของชาติ  (พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์)
พ.ศ. 2523 อดทน ขยัน ประหยัด เป็นคุณสมบัติของเด็กไทย (พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์)
พ.ศ. 2524 เด็กไทยมีวินัย ใจซื่อสัตย์ รู้ประหยัด เคร่งครัดคุณธรรม (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ. 2525 ขยัน ศึกษา ใฝ่หาความรู้ เชิดชูชาติ ศาสน์ กษัตริย์ เป็นคุณสมบัติของเด็กไทย (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ. 2526 รู้หน้าที่ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด มีวินัย และคุณธรรม (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ. 2527 รักวัฒนธรรมไทย ใฝ่ดี มีความคิด สุจริต ใจมั่น หมั่นศึกษา (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ.2528 สามัคคี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ. 2529 นิยมไทย ใช้ประหยัด ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ. 2530 นิยมไทย มีวินัย ใช้ประหยัด ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม (พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์)
พ.ศ. 2531 นิยมไทย มีวินัย ใช้ประหยัด ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม (พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ)
พ.ศ. 2532 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม (พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ)
พ.ศ. 2533 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใจสัตย์ซื่อ ถือคุณธรรม (พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ)
พ.ศ. 2534 รู้หน้าที่ มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำชาติพัฒนา (นายอานันท์ ปันยารชุน)
พ.ศ. 2535 สามัคคี มี วินัย ใฝ่ศึกษา จรรยางาม (นายอานันท์ ปันยารชุน)
พ.ศ. 2536 ยึดมั่นประชาธิปไตย ร่วมใจพัฒนา รักษาสิ่งแวดล้อม (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ. 2537 ยึดมั่นประชาธิปไตย ร่วมใจพัฒนา รักษาสิ่งแวดล้อม (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ. 2538 สืบสานวัฒนธรรมไทย ร่วมใจพัฒนา รักษาสิ่งแวดล้อม (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ. 2539 มุ่งหาความรู้ เชิดชูความเป็นไทย หลีกไกลยาเสพติด (นายบรรหาร ศิลปอาชา)
พ.ศ. 2540 รู้คุณค่าวัฒนธรรมไทย ตั้งใจใฝ่ศึกษา ไม่พึ่งพายาเสพติด (พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ)
พ.ศ.2541 ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ.2542 ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ. 2543 มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำประชาธิปไตย (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ. 2544 มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำประชาธิปไตย (นายชวน หลีกภัย)
พ.ศ. 2545 เรียนให้สนุก เล่นให้มีความรู้ สู่อนาคต ที่สดใส (พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร)
พ.ศ. 2546 เรียนรู้ตลอดชีวิต คิดอย่างสร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี (พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร)
พ.ศ. 2547 รักชาติ รักพ่อแม่ รักเรียน รักสิ่งดีดี อนาคตดีแน่นอน (พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร)
พ.ศ. 2548 เด็กรุ่นใหม่ ต้องขยันอ่าน ขยันเรียน กล้าคิด กล้าพูด (พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร)
พ.ศ. 2549 อยากฉลาด ต้องขยันอ่าน ขยันคิด (พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร)
พ.ศ. 2550 มีคุณธรรมนำใจ ใช้ชีวิตพอเพียง หลีกเลี่ยงอบายมุข (พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์)
พ.ศ. 2551 สามัคคี มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม (พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์)
พ.ศ. 2552 ฉลาดคิด จิตบริสุทธิ์ จุดประกายฝัน ผูกพันรักสามัคคี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)
พ.ศ. 2553 คิดสร้างสรรค์ ขยันใฝ่รู้ เชิดชูคุณธรรม (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)
พ.ศ. 2554 รอบคอบ รู้คิด มีจิตสาธารณะ (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ)
พ.ศ. 2555 สามัคคี มีความรู้คู่ปัญญา คงรักษาความเป็นไทย ใส่ใจเทคโนโลยี (นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น